วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : เปิดมุมมองวิศวกรรมเพื่อการจัดการน้ำมันรั่วในทะเล แนะวิธีจัดการอย่างยั่งยืน โดย The Reporters

วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : เปิดมุมมองวิศวกรรมเพื่อการจัดการน้ำมันรั่วในทะเล แนะวิธีจัดการอย่างยั่งยืน โดย The Reporters

จากเหตุการณ์น้ำมันรั่วบริเวณใกล้นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2565 ที่ผ่านมา ซึ่งก่อให้เกิดความตื่นตัวของสังคมในด้านการจัดการน้ำมันที่รั่วไหลลงสู่ทะเลและถูกพัดพาเข้ามาสู่พื้นที่ชายฝั่ง ตลอดจนผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น เหตุการณ์น้ำมันรั่วในครั้งนี้ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงและเปรียบเทียบกับเหตุการณ์น้ำมันรั่วครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่งที่เกิดขึ้นในปี 2556 บริเวณอ่าวพร้าว จังหวัดระยองเช่นเดียวกัน ทั้งในมุมมองผลกระทบและการจัดการเพื่อกำจัดน้ำมันและทำความสะอาดบริเวณที่ปนเปื้อน ซึ่งต้องอาศัยองค์ความรู้ในหลากหลายด้านและเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมในการจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึงลดผลกระทบทางลบที่อาจจะเกิดขึ้น

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดเสวนา “เปิดมุมมองวิศวกรรมเพื่อการจัดการน้ำมันรั่วในทะเล” เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองและองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมในการจัดการเหตุการณ์น้ำมันรั่วที่เกิดขึ้นในทะเล

อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ https://today.line.me/th/v2/article/vXNJXR3

ขอขอบคุณที่มา : The Reporters

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้

บันทึกการตั้งค่า