ONE-STOP COMMUNICATIONS

โลโก้ ตราสัญลักษณ์คณะ (Logo) คู่มือการใช้งานตราสัญลักษณ์คณะ เทมเพลทสำหรับโปสเตอร์ เทมเพลทสำหรับการนำเสนอ เทมเพลทสำหรับนามบัตร เทมเพลทสำหรับจดหมาย พื้นหลังสำหรับการประชุมออนไลน์

โลโก้ ตราสัญลักษณ์ (Logo)

(ไฟล์นามสกุล .png และไฟล์นามสกุล .pdf ใช้ในโปรแกรม Illustrator)

คู่มือการใช้งานตราสัญลักษณ์

เทมเพลทสำหรับโปสเตอร์

(ไฟล์นามสกุล .pdf ใช้ในโปรแกรม Illustrator)

เทมเพลทสำหรับการนำเสนอ

(ไฟล์นามสกุล .ppt ใช้ในโปรแกรม PowerPoint)

เทมเพลทสำหรับนามบัตร

(ไฟล์นามสกุล .pdf ใช้ในโปรแกรม Illustrator)

เทมเพลทสำหรับจดหมาย

พื้นหลังสำหรับการประชุมออนไลน์

เอกสารแนะนำคณะฯ

แนะนำคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ภาษาอังกฤษ)

แนะนำคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ภาษาไทย)

International School of Engineering (ISE)

ภาควิชาวิศวกรรมเคมี (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมเคมี (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (ภาษาอังกฤษ)

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาษาไทย)

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาษาอังกฤษ)

 

วีดิทัศน์แนะนำคณะฯ / ภาควิชา

วีดิทัศน์แนะนำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • วีดีทัศน์ CHULA ENGINEERING 2021

  • วีดีทัศน์ CHULA ENGINEERING 2018 (ENG SUB)

 

  • วีดิทัศน์ CHULA ENGINEERING FOR INNOVATIVE SOCIETY ภาษาอังกฤษ (ความยาว 5 นาที)

  • วิศวกรรมแหล่งน้ำ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมสำรวจ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมปิโตรเลียม (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมทรัพยากรธรณี (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมโลหการ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมนิวเคลียร์ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมเครื่องกล (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมอุตสาหการ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมไฟฟ้า (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมโยธา (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมเคมี (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมนาโนและวิศวกรรมอากาศยาน หลักสูตรนานาชาติ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร หลักสูตรนานาชาติ (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมชีวเวช (ความยาว 4 นาที)

  • วิศวกรรมป้องกันประเทศ (ความยาว 4 นาที)


วีดิทัศน์ ห้องธรรมวิศว์

ห้องธรรมวิศว์ ชั้น 3 อาคารวิศวกรรมศาสตร์ 3 เพื่อใช้เป็นสถานที่สำหรับนิสิตและบุคลากร คณะวิศวฯ จุฬาฯ ฝึกสมาธิและสติ
ได้รับการสนับสนุนจาก คุณกฤษณ มุทิตานันท์ (วศ.2511) และ คุณศักดิ์ชัย ยอดวานิช (วศ.2524)

Act Now รากฐาน นวัตกรรม สู่ความยั่งยืน
Facts and Figures
Chula Engineering Roadmap 2030
รายการพูดจาประสาช่าง

“รายการพูดจาประสาช่าง” โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอเนื้อหาความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์ที่น่าสนใจ และเป็นประโยชน์อย่างมากต่อประชาชน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง ทั้งในระดับบุคคล ระดับครอบครัวหรือระดับองค์กร

ออกอากาศทางสถานีวิทยุจุฬาฯ FM 101.5 MHz
ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.30 – 08.55 น.

ควบคุมการผลิต
ภารกิจบริหารและธุรการ ด้านสื่อสารองค์กร คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โทรศัพท์ 0-2218-6337 Email : info@eng.chula.ac.th

รับชมรายการพูดจาประสาช่าง

เพลงคณะวิศวกรรมศาสตร์
IN2SD Newsletter

IN2SD Newsletter

“IN” มาจาก “Innovation” หรือนวัตกรรม ผลงานที่ถูกคิดค้นพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากความร่วมมือของทั้งคณาจารย์ นิสิต บุคลากร และหน่วยงานเครือข่าย
“2” ที่พ้องเสียงกับคำว่า “Toward” ที่สื่อถึงการก้าวสู่ “ศตวรรษที่สอง” ของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ที่ไม่เคยหยุดพัฒนาเพื่อที่จะนำไปสู่
“SD” ที่มาจาก “Sustainable Development” การพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งถือเป็นส่วนสรุปที่สำคัญในการทำงานและเป้าหมายความทุ่มเทของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ในฐานะฟันเฟืองหนึ่งของสังคม

อ่าน IN2SD Newsletter

วารสารช่างพูด

วารสาร “ช่างพูด” คือ วารสารข่าวและความรู้รายสองเดือนของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอเนื้อหาทางด้านวิชาการ งานวิจัย เกร็ดความรู้ ผลงาน และข่าวสารต่าง ๆ ของคณะฯ นอกจากนี้ ยังตีพิมพ์ในวารสารอินทาเนีย ซึ่งเป็นวารสารรายสองเดือน จัดส่งให้กับนิสิตเก่าฯ และหน่วยต่าง ๆ

อ่านวารสารช่างพูด

เกร็ดความรู้วิศวกรรม

วิศวกรรมไฟฟ้าคืออะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าทำอะไร? สายงานสำหรับวิศวกรรมไฟฟ้า?
ประโยชน์การใช้งานของเทคโนโลยีไฟฟ้า?
.
ผู้สนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ที่เว็บไซต์ www.ee.eng.chula.ac.th


วิศวกรรมสำรวจคืออะไร

วิศวกรรมสำรวจทำอะไร? สายงานสำหรับวิศกรรมสำรวจ?
งานเด่น ๆ ของสายนี้?

ผู้สนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ที่เว็บไซต์ sv.eng.chula.ac.th

 


การจัดการภัยพิบัติ

ผู้สนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่
อาจารย์ ดร.ณัฏฐ์ ลีละวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
E-Mail: Natt.L@chula.ac.th


Remote Sensing เพื่อการศึกษาพืช คืออะไร? ทำไมต้องใช้?

ผู้สนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่
อาจารย์ ดร.ชัยโชค ไวภาษา ภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
E-Mail: Chaichoke@hotmail.com

 


 

Mooc คืออะไร?

อีกก้าวสำคัญของระบบการศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อให้ Chula MOOC “ถูกใจ” ผู้เรียน ระบบเบื้องหลัง Chula MOOC นี้ก็คือแพลตฟอร์มสำหรับการศึกษา “มายคอร์สวิลล์ (myCourseVille)” ที่พัฒนาโดยวิศวฯ จุฬาฯ ภายใต้การ.สนับสนุนของศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาฯ


การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ TABEE

รายการ Toward Innovation

CU Line Tracking

อุปกรณ์ติดตามผู้ป่วยสมองเสื่อม ผ่านแอฟพลิเคชั่นไลน์ที่ช่วยในการติดตามและช่วยเหลือผู้ป่วย
โดย อ. ดร.ภาคภูมิ สมบูรณ์ หลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช

https://youtu.be/p1ij72lPAkQ

 


การพัฒนาโปรแกรมออกแบบโครงข่ายใยแก้วนำแสงความเร็วสูง

โดย รศ. ดร.ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวฯ จุฬาฯ

https://youtu.be/RRGh9w9owUI