1. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันสร้างวิศวกรและนวัตกรรมที่เป็นเลิศ สำหรับสังคมโลก
2. สร้างสรรค์บัณฑิตที่มีคุณธรรม ปัญญา ทักษะการทำงานร่วมกัน และการทำปรับตัว ผ่านหลักสูตรที่ได้รับการรับรอง และงานวิจัยและนวัตกรรมระดับโลก
Chula Engineering 2017 for TABEE
การบริหารและการดำเนินงานของคณะวิศวกรรมศาสตร์เป็นความรับผิดชอบโดยตรงของคณบดี และมีคณะกรรมการคณะฯ เป็นคณะที่ปรึกษา
โครงสร้างการบริหารงานของคณะฯ แสดงได้ดังต่อไปนี้
ประเด็นยุทธศาสตร์คณะ ฯ |
ประเด็นยุทธศาสตร์ (มหาวิทยาลัย) |
นโยบายคณะ ฯ |
เป้าหมาย |
กลยุทธ์ |
โครงการ / กิจกรรม |
1. การผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศ | “ก้าวไกล” | 1.1 พัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้เพื่อวางพื้นฐานทางวิศวกรรมที่เข้มแข็ง แข่งขันได้ | 1.1 ส่งเสริมนวัตกรรม การเรียนรู้ สร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพ |
|
|
|
|
||||
2. เป็นคณะฯที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ | “ก้าวไกล/ยกย่อง” | 2.1 สร้างและบูรณาการองค์ความรู้ที่นำไปสู่การพัฒนาและเพิ่มจำนวนคุณภาพงานวิจัยและการอ้างอิงทางวิชาการระดับนานาชาติ | 2.1 เป็นชุมชนวิชาการที่เข้มแข็งและมีความเป็นนานาชาติ |
|
|
|
|
||||
|
|
||||
2.2 มีผลผลิตบัณฑิต ผลผลิตทางวิชาการและวิจัยเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ |
|
|
|||
3. เป็นองค์กรแห่งปัญญาที่มีความเป็นเลิศด้านวิจัย | “ยกย่อง” | 3.1 ส่งเสริมการวิจัยที่ข้ามสาขาเพื่อบุกเบิกงานวิจัยกลุ่ม/แขนงใหม่ 3.2 ชื่อมโยงการเรียนการสอนและงานวิจัยกับภาคอุตสาหกรรมและสังคมภายนอก 3.3 ส่งเสริมการจัดหาทรัพยากรเพื่อการวิจัยให้มีความพร้อมและเพียงพอที่จะสนับสนุนการวิจัย |
3.1 มีผลผลิตงานวิจัยที่โดดเด่นชี้นำการพัฒนาและแก้ปัญหาสังคม |
|
|
|
|
||||
4. มีระบบการบริหารจัดการที่คล่องตัวมีประสิทธิภาพ | คล่องตัว+มั่นคง | 4.1 มีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพและมีธรรมาภิบาล 4.2 มีกระบวนการดำเนินงานที่คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ เพิ่มการนำ IT มาใช้และมีระบบมอบ หมายงาน การติดตามและประเมินผลงานที่ดี 4.3 มีระบบบริ หารการเงินที่ดี 4.4 มีระบบบริหารทรัพยากรกายภาพที่ดี |
4.1 มีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพและมีธรรมาภิบาล |
|
|
4.2 มีระบบบริหารการเงินที่ดีและเพิ่มรายได้ |
|
|
|||
4.3 มีระบบบริหารทรัพยากรกายภาพที่ดี |
|
|
|||
5. เป็นประชาคมที่มีความสุข | “เกื้อกูล+เป็นสุข” | 5.1 ส่งเสริมการเป็นประชาคมที่มีความสุขทั้งกายและใจ ส่งเสริมความร่วมมือและความสัมพันธ์ในหมู่คณะฯและสังคมภายนอกเพื่อร่วมกันพัฒนาคณะฯและสังคม | 5.1 มีการเกื้อกูลนิสิตและบุคลากรที่ขาดแคลน | เกื้อกูลนิสิตและบุคลากร |
|
5.2 มีส่วนร่วมในการสนับสนุนชุมชนและสังคม | เพิ่มความมีส่วนร่วมและใกล้ชิดกับสังคม |
|
|||
5.3 ส่งเสริมการเป็นประชาคมที่เป็นสุข | ส่งเสริมการเป็นประชาคมที่เป็นสุข |
|
|||
5.4 ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด |
|
|