FACULTY

ทำเนียบ “ศักดิ์อินทาเนีย” : ดร.วรงค์ ปวราจารย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรงค์ ปวราจารย์ เป็นผู้อุทิศตนเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดให้แก่นิสิต และส่วนรวมอย่างเต็มความสามารถ ทำการพัฒนาสื่อการสอนอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ มีความเมตตากรุณาต่อศิษย์ และมีมาตรฐานด้านวิชาการที่สูง เป็นผู้มีความสามารถในการสอน ถ่ายทอดความรู้ เกื้อหนุนให้ผู้เรียนเกิดความรู้ และมีผลงานด้านการสอนที่โดดเด่น เป็นที่ชื่นชม ยอมรับจากนิสิต และเพื่อนร่วมงาน รวมถึงผู้บังคับบัญชาเป็นอย่างยิ่ง สมควรได้รับการยกย่อง และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นิสิตและบุคลากรต่อไป

ตำแหน่ง  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
สังกัด      ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
เริ่มปฏิบัติงานในคณะวิศวกรรมศาสตร์ เมื่อ  19 มีนาคม 2535
ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2535 วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2539 M.S. (Chemical Engineering) Oregon State University, U.S.A.
พ.ศ. 2545 Ph.D. (Chemical Engineering) Oregon State University, U.S.A.

ผลงานด้านการเรียนการสอน
ผลงานด้านวิจัย
  • V. Pavarajarn, T. Vongthavorn and P. Praserthdam, “Enhancement of Direct Nitridation of Silicon by Common Metals in Silicon Nitride Processing”, Ceramics International, 33(4), 675-680, 2007
  • J. Watthanaarun, P. Supaphol and V. Pavarajarn, “Photocatalytic Activity of Neat and Silicon-Doped Titanium(IV) Oxide Nanofibers Prepared by Combined Sol-Gel and Electrospinning Techniques”, Journal of Nanoscience and Nanotechnology, 7(7), 2443-2450, 2007
  • P. Tonto, O.Mekasuwandumrong, S. Phatanasri, V. Pavarajarn and P. Praserthdam, “Preparation of ZnO nanorod by solvothermal reaction of zinc acetate in various alcohols”, Ceramics International, 34(1), 57-62, 2008
  • B. Paosawatyanyong, T. Supasai, V. Pavarajarn and S.K. Hodak, “Hydrophobicity Improvement of PET Fabrics after SF6 Plasma Treatment”, International Polymer Processing, 23(2), 134-139, 2008
  • K. Luyjew, N. Tonanon and V. Pavarajarn, “Mesoporous Silicon Nitride Synthesis via the Carbothermal Reduction and Nitridation of Carbonized Silica/RF Gel Composite”, Journal of the American Ceramic Society, 91(4), 1365-1368, 2008
  • C. Promdej, S. Areeraksakul, V. Pavarajarn, S. Wada, T. Wasanapiarnpong and T. Charinpanitkul, “Preparation of Translucent Alumina Ceramic Specimen using Slip Casting Method”, Journal of the Ceramic Society of Japan, 116(1351), 409-413, 2008
  • S.K. Hodak, T. Supasai, B. Paosawatyanyong, K. Kamlangkla and V. Pavarajarn, “Enhancement of the Hydrophobicity of Silk Fabrics by SF6 Plasma”, Applied Surface Science, 254(15), 4744-4749, 2008
  • K. Kasemsuwan, T. Suvewong, V. Pavarajarn and C. Thanachayanont, “Influence of ZnO Content on Film Morphology and Device Performance of MEH-PPV/ZnO Hybrid Solar Cells”, Advanced Materials Research, 55-57, 325-328, 2008
  • C. Promdej, V. Pavarajarn, S. Wada, T. Wasanapiarnpong and T. Charinpanitkul, “Effect of Hot Isostatically Pressed Sintering on Microstructure of Translucent Alumina Compact”, Current Applied Physics, 9(5), 960-966, 2009
  • N. Sangkhaprom, P. Supaphol and V. Pavarajarn, “Fibrous Zinc Oxide Prepared by Combined Electrospinning and Solvothermal Techniques”, Ceramics International, 36(1), 357-363, 2010
  • J. Klanwan, N. Akrapattangkul, V. Pavarajarn, T. Seto, Y. Otani and T. Charinpanitkul, “Single-Step Synthesis of MWCNT/ZnO Nanocomposite using Co-chemical Vapor Deposition Method”, Materials Letters, 64(1), 80-82, 2010
  • V. Pavarajarn, R. Precharyutasin and P. Praserthdam, “Synthesis of Silicon Nitride Fibers by the Carbothermal Reduction and Nitridation of Rice Husk Ash”, Journal of the American Ceramic Society, (93(4), 973-979, 2010
  • K. Kamlangkla, B. Paosawatyanyong, V. Pavarajarn, J.H. Hodak and S.K. Hodak, “Mechanical Strength and Hydrophobicity of Cotton Fabric After SF6 Plasma Treatment”, Applied Surface Science, (in press)
  • J. Kaewsaenee, P. Visal-athaphand, P. Supaphol and V. Pavarajarn, “Fabrication and Characteristics of Neat and Aluminium-Doped Titanium (IV) Oxide Fibers Prepared by Combined Sol-Gel and Electrospinning Techniques”, Ceramics International, (in press)
  • วรงค์ ปวราจารย์, “กิจกรรมการฝึกงานเทคโนโลยีสะอาด: รูปแบบใหม่ของการฝึกงาน”, วารสารวิศวกรรมศาสตร์, 1(2), 39-48, 2552
  • ผลงานนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 8 เรื่องและในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ 9 เรื่อง
ผลงานด้านกิจการนิสิต
  • อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมวาทศิลป์และมนุษยสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • หัวหน้าเครือข่ายกิจกรรมฝึกงานเทคโนโลยีสะอาด ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เพื่อจัดให้มีการฝึกงานในรูปแบบที่เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างอาจารย์ นิสิต และผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ในการนำความรู้ทางวิชาการไปประยุกต์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรม
รางวัลที่เคยได้รับ
  • รางวัลผลงานวิจัยดีมาก กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2549
  • รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้านการเรียนการสอนระดับดีมาก กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2550
  • รางวัลศักดิ์อินทาเนีย ประเภทที่ปรึกษาชมรม/โครงการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2552
ข้อคิด/เคล็ดลับความสำเร็จ/ความนัยจากใจเกี่ยวกับรางวัลนี้

การสอนสำหรับผมไม่ได้เป็น “หน้าที่” แต่เป็น “ความสุข” และนิสิตของเราไม่ได้เป็นเพียงแค่ “ผู้ฟัง” แต่เป็น “พันธกิจ” ที่เราต้องทำให้เขาเข้าใจในเนื้อหาบทเรียน