เกี่ยวข้องกับ COVID-19
25 กรกฎาคม 2564
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : มีอะไร? ใน ‘กล่องรอดตาย’ ตัวช่วยคลายวิตกผู้ป่วยโควิด ระหว่างรอเตียง โดย กรุงเทพธุรกิจ
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : มีอะไร? ใน ‘กล่องรอดตาย’ ตัวช่วยคลายวิตกผู้ป่วยโควิด ระหว่างรอเตียง โดย กรุงเทพธุรกิจ วิศวะ จุฬาฯ ออกไอเดียรับมือวิกฤตเตียงขาด ผู้ป่วยล้น ด้วยการมอบ ‘กล่องรอดตาย
25 กรกฎาคม 2564
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : รู้หรือไม่…”กล่องรอดตาย” …หนึ่งกล่องมีอะไรบ้าง โดย ศูนย์ข้อมูล COVID-19
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : รู้หรือไม่…”กล่องรอดตาย” …หนึ่งกล่องมีอะไรบ้างโดย ศูนย์ข้อมูล COVID-19.“กล่องรอดตาย” คือ กล่องบรรจุยาและเวชภัณฑ์ เป็นตัวช่วยให้ผู้ติดเชื้อรักษาตัวที่บ้านหรืออยู่ระหว่างรอเตี
25 กรกฎาคม 2564
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : ผศ. ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวฯ จุฬาฯ ให้สัมภาษณ์ เรื่อง “กล่องรอดตาย” โดย คนค้นฅน
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : ผศ. ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวฯ จุฬาฯ ให้สัมภาษณ์ เรื่อง “กล่องรอดตาย”โดย คนค้นฅน.#คนค้นฅนออนไลน์ #ผ่านวิกฤตโควิดไปด้วยกัน#กล่องรอดตาย
21 กรกฎาคม 2564
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : กล่องรอดตาย “ฉันต้องรอด” โดย ข่าวช่อง 8
สมาคมนิสิตเก่า จุฬาฯ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กรมควบคุมโรค คิดค้น ‘กล่องรอดตาย’ รวมอุปกรณ์และยารักษาอาการเบื้องต้น สำหรับกลุ่มผู้ป่วยส
21 กรกฎาคม 2564
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : “กล่องรอดตาย” ตัวช่วยของผู้ป่วยโควิด-19 โดย รายการ Healthy Day รันเวย์สุขภาพ MCOT HD 30
ผศ. ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ผู้ออกแบบ “รถดมไว” ให้สัมภาษณ์ในรายการ Healthy Day รันเวย์สุขภาพ MCOT HD 30เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2564 ขอขอบคุณที่มา : M
21 กรกฎาคม 2564
วิศวฯ จุฬาฯ ในสื่อ : จุฬาฯ ผุดไอเดีย “กล่องรอดตาย” ช่วยผู้ป่วยโควิดระหว่างรอเตียง โดย PPTV HD 36
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จับมือสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง (สปคม.) จัดทำกล่องรอดตาย ต้นแบบช่วยผู้ป่วยโควิด-19 ที่รักษาตัวที่บ้านระหว่างรอเตียง เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น ลดความเส
20 กรกฎาคม 2564
สมาคมนิสิตเก่าจุฬาฯ คณะวิศวฯ และสถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ รับมอบการสนับสนุนหน้ากาก CUre AIR SURE จำนวน 1,000 ชุด
วันที่ 20 กรกฎาคม 2564 สมาคมนิสิตเก่าแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ โดย ศ. ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย และ สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ จุฬาฯ โดย ศ. ดร.
19 กรกฎาคม 2564
สมาคมนิสิตเก่าวิศวฯ จุฬาฯ สนับสนุนหน้ากาก CUre AIR SURE 1,000 ชุด ให้กับสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
วันที่ 19 กรกฎาคม 2564 ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี ศ. ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ พร้อมด้วยผู้แทนจากสมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มอบหน้าก
8 กรกฎาคม 2564
“กล่องรอดตาย” พร้อมระบบ QR code เพื่อติดตามอาการ และช่วยหาเตียง สำหรับผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ต้องรักษาตัวที่บ้าน ในระหว่างรอเตียง
เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2564 คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย​ นำโดย ศ. ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย และ ผศ. ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวเวช ร่วมกับสมาคมนิสิตเก่
7 กรกฎาคม 2564
ประชาสัมพันธ์ช่องทางการติดต่อ (ช่วงโควิด) หน่วยทดสอบของคณะวิศวฯ จุฬาฯ
ประชาสัมพันธ์ช่องทางการติดต่อ (ช่วงโควิด)หน่วยทดสอบของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาหัวหน้าหน่วยทดสอบคุณกฤษดา โทร: 085-5578439ธุรการหน่วยทดสอบคุณโอ๋ โทร: 02-2186567ศูนย์ทนไฟคุณสิริชัย โทร: 085-198